วันเสาร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562

โมเดลใหม่ในการบริหารจัดการองค์การ

การบริหารจัดการสมัยใหม่ (์Model Management): 
โมเดลใหม่ในการบริหารจัดการองค์การ

  โมเดลใหม่ในการบริหารจัดการองค์การเป็นผลงานดุษฎีนิพนธ์ของ ดร.สงบ สิทธิเดช เมื่อปี 2006 ผู้เขียนเห็นว่าในเรื่องการบริหารจัดเป็นทั้งแนวคิดทฤษฎีที่มีมาแต่อดีต ซึ่งมีประโยชน์อย่างมากกับการนำมาปรับใช้หรือประยุกต์กับปัจจุบันได้ ผู้เขียนได้นำมาเป็นแนวทางปรับใช้กับการบริหารจัดการสินค้าที่เกี่ยวข้องกับอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูงและสินค้าที่ใช้ได้สองทางได้ (WMD&DUI) และสามารถตอบข้อสงสัยให้ผู้เขียนในการศึกษาและวิเคราะห์สินค้า WMD&DUI ดังกล่าวได้ 
   ฉะนั้น ในบทความนี้ จึงได้นำผลงานการวิจัยในอดีตของผู้เขียนเองนำมาทบทวนและเผยแพร่อีกครั้ง หวังว่าอาจจะเป็นประโยชน์อยู่บ้างสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาเพิ่มเติม


















อ่านบทความเดิม
1. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่: ตอนที่ 1 กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารจัดการสารเคมี 2009
2. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่: ตอนที่ 2 กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารจัดการสารเคมี 2009

3. มองการวิจัยให้ถึงแก่น:ศาสตร์แห่งการวิจัย (Research Methodology Part I) 


Copyright by 
Dr.Sangob Sittidech
8 June 2019

วันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

Thai Customs Role for Export Control - New

(Thai Customs Role for Export Control)
บรรยาย โดย ดร.สิทธิเดช วันที่ 19 มิถุนายน 2555
ณ โรงแรมเวส ทิน แกรน์ สุขุมวิท กรุงเทพมหานคร 

     กรมการค้าต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงเศรษฐกิจการค้าและอุตสาหกรรม (METI) ญี่ปุ่น จัดสัมมนา เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมการส่งออกสินค้าที่ใช้ได้สองทาง (ทางทหารและทางพาณิชย์) ให้กับผู้ประกอบการไทย เรื่อง Thailand - Japan Joint Export Seminar ในวันอังคารที่ 19 มอิถุนายน 2555 ณ โรงแรมเวส ทิน แกรน์ สุขุมวิท กรุงเทพมหานคร ในการนี้ ดร.สงบ สิทธิเดช ได้รับมอบหมายให้ไปบรรยายในหัวข้อ "Thai Customs Role for Export Control" 

Joint Industry Outreach Seminar in Thailand19 June 2012, The Westin Grande Sukhumvit

Thai Customs Role for Export ControlDr. Sangob SittidechCustoms Technical Officer, Professional Level, Bangkok Port Customs Bureau, Royal Thai Customs, Thailand





















วันเสาร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2562

เตรียมความพร้อมรับมือกฏหมายควบคุมสินค้าที่ใช้ได้สองทาง 27 เม.ย. 2562

เตรียมความพร้อมรับมือกฏหมายควบคุมสินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual Used Items: DUI) 
27 เมษายน 2562 ณ ศูนย์ศึกษาสยามคอมเพล็กซ์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน ชั้น 8 (ใกล้ BTS ราชเทวี) 
ดำเนินการโดย บริษัท คิงส์ออดิทแอนด์ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด 
วิยากรโดย ดร.สงบ สิทธิเดช 

รู้หรือไม่ ??? ประเทศไทยจะประกาศใช้กฏหมายควบคุมการส่งออกสินค้าที่ใช้ได้สองทางมีผลตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ.2563

รู้หรือไม่ ??? หากพิกัดอัตราศุลกากรอยู่ในประกาศกระทรวงพาณิชย์ ท่านต้องปฏิบัติกฏหมายใหม่นี้

รู้หรือไม่ ??? ทำไมถึงต้องควบคุมการส่งออกภายในองค์กร (Internal Compliance Program:ICP) ทำอย่างไร และดีอย่างไร

รู้หรือไม่ ??? พิกัดศุลกากรมีผลการการส่งออกของท่าน

ขอเชิญผู้ส่งออก เตรียมความพร้อมด้วยการศึกษาระบบการควบคุมการส่งออกผ่านระบบ ECCN และพิกัดศุลกากรในระดับสากลและไทย , กฏหมายการควบคุมการนำเข้าส่งออก และพิธีการศุลกากรที่เกี่ยวข้อง , แนะนำการจัดทำระบบการควบคุมการส่งออกภายในองค์กร (ICP) และทำความเข้าใจหลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากร เพื่อนำพิกัดอัตราศุลกากรไปใช้อย่างถูกต้อง ส่งออกได้อย่างถูกต้อง ---ไม่สะดุด ราบรื่น ----ไม่เกิดปัญหาในภายหลัง

1.ระบบการควบคุมการส่งออกสินค้าที่ใช้ได้สองทาง WMDในระดับสากลและไทย
  a) WMD-DUI CONTROL SYTEM MODEL
  b) การควบคุมด้วยภาครัฐออกกฎหมายควบคุมการส่งออก : ด้วยรหัส ECCN กับรหัสตัวเลข HS
  c) สรุปการตรวจสอบสินค้า DUI บัญชี 1 ตาม ปก. พณ. 2558 ด้วยรหัส ECCN-HS
  d) ระบบ E-TMD/TCWMD ช่วยค้นหารหัส ECCN-HS
  e) EX-CHEMICAL DUI
    (บรรยายโดย ดร.สงบ สิทธิเดช)

2.กฏหมายการควบคุมการนำเข้า-ส่งออกของไทย กับสินค้า DUI
  a) การควบคุมโดยภาครัฐ กม. ภายใน 13+1 ฉบับ ที่เกี่ยวข้องกับ WMD-DUI
  b) ลักษณะการควบคุมนำเข้า – ส่งออก – นำผ่าน ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  c) ร่าง พ.ร.บ. การค้าสินค้าที่เกี่ยวข้องกับการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง
  d) กม. ศุลกากรกับการควบคุมส่งออกสินค้า
  e) พิธีการศุลกากรที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมสินค้า DUI
  f) ใบขนสินค้าขาออก ประเภท 1 ที่ต้องควบคุม DUI
  g) ข้อยกเว้นสำหรับเขตปลอดอากรในพื้นที่ EEC
  h) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับระบบการบริหารการค้าสินค้าที่ใช้ได้สองทางของไทย
      (บรรยายโดย ดร.สงบ สิทธิเดช)

3.ระบบการควบคุมสินค้าที่ใช้ได้สองทางภายในองค์กร INTERNAL COMPLIANCE PROGRAM (ICP)
  a) INTERNAL COMPLIANCE PROGRAM (ICP) ในระดับสากล
  b) ระบบงานควบคุมสินค้าภายใน (ICP)
  c) การควบคุมภายใน (COSO)
  d) หลักเกณฑ์ ICP ของ EU , US และ ไทย
  e) เปรียบเทียบข้อกำหนด ICP : COSO-TH-EU-US
  f) ระบบ E-ICP ของไทย
   1. การกำหนดคำมั่นสัญญาของผู้บริหารองค์กร (COMMITMENT MANAGEMENT)
   2. การตรวจสอบการซื่อขายที่ปลอดภัย (TRADE SCREENING)
   3. การจัดฝึกอบรมให้ความรู้แก่บุคลากร (TRAINING)
   4. การเก็บรักษาข้อมูล (RECORD KEEPING)
   5. การตรวจสอบและประเมินระบบงาน ICP ภายในองค์กร (AUDITING)
   6. การรายงานและลงโทษบุคลากรที่ละเมิด กม. (PENALTIES AND REPORTING)
  g) ผู้ประกอบการมาตราฐาน AUTHORIZED ECONOMIC OPERATOR: AEO
    (บรรยายโดย ดร.สงบ สิทธิเดช)

4. พิกัดอัตราศุลกากรไทยเบื้องต้น
 a) HARMONIZED SYSTEM: พิกัดอัตราศุลกากรไทยและสากล
 b) การตีความตามพิกัดอัตราศุลกากร
 c) หลักสำคัญของการจำแนกพิกัดอัตราศุลกากร
 d) ข้อควรรู้ เพื่อจัดประเภทพิกัดอัตราศุลกากร
 e) ความหมายของตารางพิกัดอัตราศุลกากร
 f) ฝึกปฏิบัติ และ ตัวอย่างการจัดประเภทพิกัดอัตราศุลกากร
 g) การค้นหาพิกัดศุลกากรระบบอิเลคทรอนิคส์
     (บรรยายโดย อ.ธงชัย สุมโนทยาน)

*** แถมฟรี CD เอกสารประกอบคำบรรยายเนื้อหา ***

 ตัวอย่างบรรยาย










































































ดร.สงบ สิทธิเดช
27/04/62

สารบัญรวมบทความทั้งหมด

ที่ดินบ้านสวน 1 งาน ท่ามกลางธรรมชาติในโครงการโกลเด้นโฮมเชียงแสนฯ ผ่อนสบาย ๆ เดือนละหมื่นกว่าบาท 24 เดือน ได้เป็นเจ้าของทันที   สนใจติ...